ไปที่แท็ป "ตั้งค่า" เลื่อนลงไปในส่วนที่ 4 "กำหนดการค้นหา / ประเภทช่องป้อนข้อมูล"
กำหนดการค้นหาที่คอลัมน์ "กำหนดตัวเลือก สำหรับค้นหา"
หลังจากกำหนดฟิลด์ที่ต้องการเรียบร้อย ให้คลิกไปที่แท็ป "Views"
ที่แท็ปย่อย "แสดงตารางรายการ" จะมีส่วนที่ให้ตั้งค่า 2 ส่วน คือ
1. ช่องให้กรอกจำนวนที่ต้องการแสดงต่อหน้า
2. ตัวเลือกสำหรับจัดเรียง ซึ่งจะ Default ตามชื่อฟิลด์ที่ใช้ค้นหา สามารถเพิ่มลดได้ตามต้องการ
เมื่อกดปุ่มแสดงตัวอย่าง จะได้ผลลัพธ์ดังนี้
หลังจากที่กดสร้างไฟล์จนครบทุกไฟล์ สามารถตรวจสอบการทำงานจากลิงค์ที่แท็ป "Controller" จะเปิดหน้าตารางรายการขึ้นมา
ทดลองค้นหาด้วย "ชื่อเล่น" จะได้ผลลัพธ์ดังนี้
จากนั้นคลิกที่ปุ่ม "ทั้งหมด" เพื่อแสดงทุกรายการ แล้วลองเลือกตัวเลือกการจัดเรียงด้านขวา โดยเลือกให้จัดเรียงตามไอดี มาก - น้อย
ทดสอบจัดเรียงด้วยฟิลด์ "ชื่อเล่น" แบบเรียง ก-ฮ ( ORDER BY ........ ASC )
และลองเลือกจัดเรียงด้วยฟิลด์ "ชื่อเล่น" แบบเรียง ฮ - ก ( ORDER BY ........ DESC )
จากตัวอย่างที่ผ่านมา จะเห็นว่า การสร้างหน้าเว็บสำหรับค้นหา แบ่งหน้า และจัดเรียง เป็นเรื่องง่ายๆแทบจะไม่ต้องเขียนโค้ดเองเลย หากต้องการปรับแต่งเพิ่มเติมเรื่องหน้าตาก็สามารถเปิดไปในโฟลเดอร์ views ของ module นั้นๆแก้ไขได้ทันที
<< สร้าง Dropdown List และการ JOIN ตาราง กำหนดการรับค่าให้กับช่องป้อนข้อมูล »
กำหนดการค้นหาที่คอลัมน์ "กำหนดตัวเลือก สำหรับค้นหา"
จะปรากฏตัวเลือก 4 รายการ
1. = 'คำค้นหา' จะค้นหาแบบต้องตรงทุกตัวอักษร เช่นการค้น ไอดี รหัสเอกสาร จำนวนเงิน
2. LIKE '%คำค้นหา%' จะค้นหารายการที่มีคำที่ต้องการ อยู่ในส่วนใดส่วนหนึ่งของฟิลด์นั้น
3. LIKE 'คำค้นหา%' จะค้นหารายการที่ขึ้นต้นด้วยคำที่ค้นหา
4. LIKE '%คำค้นหา' จะค้นหารายการที่ลงท้ายด้วยคำที่ค้นหา
หลังจากกำหนดฟิลด์ที่ต้องการเรียบร้อย ให้คลิกไปที่แท็ป "Views"
ที่แท็ปย่อย "แสดงตารางรายการ" จะมีส่วนที่ให้ตั้งค่า 2 ส่วน คือ
1. ช่องให้กรอกจำนวนที่ต้องการแสดงต่อหน้า
2. ตัวเลือกสำหรับจัดเรียง ซึ่งจะ Default ตามชื่อฟิลด์ที่ใช้ค้นหา สามารถเพิ่มลดได้ตามต้องการ
เมื่อกดปุ่มแสดงตัวอย่าง จะได้ผลลัพธ์ดังนี้
หลังจากที่กดสร้างไฟล์จนครบทุกไฟล์ สามารถตรวจสอบการทำงานจากลิงค์ที่แท็ป "Controller" จะเปิดหน้าตารางรายการขึ้นมา
ทดลองค้นหาด้วย "ชื่อเล่น" จะได้ผลลัพธ์ดังนี้
จากนั้นคลิกที่ปุ่ม "ทั้งหมด" เพื่อแสดงทุกรายการ แล้วลองเลือกตัวเลือกการจัดเรียงด้านขวา โดยเลือกให้จัดเรียงตามไอดี มาก - น้อย
ทดสอบจัดเรียงด้วยฟิลด์ "ชื่อเล่น" แบบเรียง ก-ฮ ( ORDER BY ........ ASC )
และลองเลือกจัดเรียงด้วยฟิลด์ "ชื่อเล่น" แบบเรียง ฮ - ก ( ORDER BY ........ DESC )
จากตัวอย่างที่ผ่านมา จะเห็นว่า การสร้างหน้าเว็บสำหรับค้นหา แบ่งหน้า และจัดเรียง เป็นเรื่องง่ายๆแทบจะไม่ต้องเขียนโค้ดเองเลย หากต้องการปรับแต่งเพิ่มเติมเรื่องหน้าตาก็สามารถเปิดไปในโฟลเดอร์ views ของ module นั้นๆแก้ไขได้ทันที
<< สร้าง Dropdown List และการ JOIN ตาราง กำหนดการรับค่าให้กับช่องป้อนข้อมูล »
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น