ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2019

CodeIgniter CRUD Generator - การสร้าง Core Controller เพื่อแก้ปัญหาต้องเขียนคำสั่งซ่อนแสดงเมนู ในทุกๆหน้า

ซ่อนแสดงเมนูของ Admin เริ่มจากสร้างไฟล์ แล้วก็ย้ายตัวแปรบางส่วนออกไปที่ไฟล์ใหม่ โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. สร้างไฟล์ core/CRUD_Controller.php ( ดูซอร์สโค้ดได้ท้ายบทความนี้ ) 2. แก้ไขไฟล์ core/MEMBER_Controller.php ให้ extends จาก CRUD_Controller.php ที่สร้างในข้อที่ 1 โดยแก้จากเดิม class MEMBER_Controller extends CI_Controller เป็น class MEMBER_Controller extends CRUD_Controller  3. แก้ไขไฟล์ Controller แต่ละ หน้าเว็บเพจ ที่สร้างขึ้นมาให้ extends CRUD_Controller ให้เหมือนกันทั้งหมด และลบตัวแปรบางบรรทัดออกเช่น    3.1 แก้ extends CRUD_Controller    3.2 ลบตัวแปรที่ซ้ำ กับ CRUD_Controller ออก    3.3 แก้ตัวแปร 2 ตัวที่เหลือ จาก $data เป็น $this->data    หน้าตาไฟล์ Controller ของเว็บเพจที่เราแก้ไขเรียบร้อยจะได้ดังนี้ 4. แก้ไข left_sidebar_view.php  <ul class="sidebar navbar-nav">     <li class="nav-item active">         <a class="nav-li...

การสร้างเว็บไซต์ ระบบบริหารจัดการร้านกาแฟ ด้วย PHP & MySQL

ระบบบริหารจัดการร้านกาแฟ ด้วย PHP & MySQL แนวคิด ระบบบริหารจัดการ ร้านกาแฟ ปรับแต่งเทมเพลต SB Admin 2 สำหรับใช้กับโปรเจ็กต์ Coffee Shop - PHP CI MANIA ออกแบบฐานข้อมูลโครงสร้างบริษัท  ชื่อกิจการ สาขา และสร้างเว็บเพจบันทึกข้อมูลบริษัท  ออกแบบฐานข้อมูล แผนก/ฝ่าย ตำแหน่ง รายชื่อพนักงาน และสร้างเว็บเพจบันทึกข้อมูล ออกแบบฐานข้อมูล สร้างเมนูเครื่องดื่ม และสร้างเว็บเพจบันทึกรายชื่อเมนู  ออกแบบฐานข้อมูล รายการวัตถุดิบ และสร้างเว็บเพจบันทึกรายชื่อวัตถุดิบ/วัสดุ ออกแบบฐานข้อมูล ตารางส่วนผสม และสร้างเว็บเพจบันทึกรายชื่อการส่วนผสมแต่ละเมนู ออกแบบตารางเก็บประวัติการขาย รายงานประจำวัน และสร้างเว็บเพจบันทึกข้อมูล ออกแบบตารางเก็บค่าใช้จ่าย รายงานค่าใช้จ่าย สร้างเว็บเพจบันทึกค่าใช้จ่ายประจำวัน สร้างเว็บเพจแสดงรายงานประจำวัน / ประจำเดือน / ประจำปี สร้างเว็บเพจแสดงรายงานสรุป รายรับ-รายจ่าย ประจำเดือน สร้างเว็บเพจประเมินสต๊อกวัตถุดิบคงเหลือ สร้างเว็บเพจบันทึกรายการสั่งซื้อวัตถุดิบ สร้างเว็บเพจ นำเข้าสต๊อกวัตถุดิบตามรายการสั่งซื้อ สร้างเว็บเพจปรับปร...

PHP CI MANIA : ตอนที่ 19 วิธีสร้างเว็บเพจอย่างง่าย ในการคลิกเพียงครั้งเดียว!!

คุณสมบัติพิเศษ สำหรับ PHP CI MANIA เวอร์ชั่น 0.6 ก็คือ "สามารถสร้างเว็บเพจได้ง่ายๆ ในคลิกเดียว" ซึ่งในเวอร์ชั่นอื่นๆ จะต้องคลิกสร้างทีละไฟล์ 1. ในแท็ป " ตั้งค่า " ของ Version 0.6 จะปรากฏปุ่ม " สร้างไฟล์ทั้งหมด " ด้านขวามือ 2. เมื่อตั้งค่าต่างๆเรียบร้อยตามที่ต้องการแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม " สร้างไฟล์ทั้งหมด " ระบบจะเริ่มสร้างไฟล์ทีละส่วนจนครบทั้งหมด และจบที่หน้า Controller เพื่อให้ คลิกเพื่อดูตัวอย่าง ที่สร้างมาเรียบร้อยแล้ว เมื่อตรวจสอบการทำงานเรียบร้อยก็สามารถ คัดลอก ไฟล์นำไปใช้งานได้เลยครับ อ่านวิธีการนำโค้ดไปใช้งานได้ที่ PHP CI MANIA : ตอนที่ 4 การนำโค้ด ไปใช้งานใน Project ที่เตรียมไว้ วิดีโอสาธิตการทำงาน : << บันทึกการตั้งค่า เพื่อแก้ไขภายหลัง คู่มือ PHP CI MANIA » [[ PHP CI MANIA | ลดเวลาเขียนโค้ด เพิ่มเวลาบริหารจัดการได้มากขึ้น | Webpage Generator by CodeIgniter Framework ]] HOME   --------------------------------   สนับสนุนค่ากาแฟผู้เขียนได้ที่ PHP  CI  MANIA   - PHP Code Generator  โปรแกร...

PHP CI MANIA : ตอนที่ 18 การบันทึกข้อมูลการตั้งค่า Setting เพื่อใช้ปรับแต่งในภายหลัง

หลายครั้งในระหว่างที่แอดมินกำลังตั้งค่า ก็จะมีบ้างที่เผลอกดรีเฟรชผิดหน้า ทำให้ค่าที่ตั้งเอาไว้หายไปหมดต้องมานั่งตั้งค่าใหม่ หรือบางครั้งก็สร้างไฟล์เรียบร้อยแล้วแต่มันยังไม่ได้สมบูรณ์จริง แต่ก็ดันปิดหน้าตั้งค่าไปเสียแล้ว บทความตอนนี้ จะมาแนะนำวิธีการบันทึกค่าสำหรับ Version 0.6 เพื่อให้สามารถเรียกคืนค่ามาใช้ภายหลังได้อีกครั้ง โดยไม่ต้องมานั่งตั้งค่ากันใหม่อีกต่อไป 1. ในแท็ป " ตั้งค่า " ของ Version 0.6 จะปรากฏปุ่ม " บันทึกการตั้งค่า " ด้านขวามือ 2. เมื่อได้ตั้งค่าตัวเลือกต่างๆ อาจจะอยู่ในระหว่างตั้งค่า หรือจะรอจนตั้งค่าต่างๆเรียบร้อยก็แล้วแต่ ท่านสามารถคลิกปุ่ม "บันทึกการตั้งค่า" เพื่อจำข้อมูลการตั้งค่าได้ตลอดเวลา 3. โดยข้อมูลอ้างอิงในการตั้งค่าจะมีอยู่ด้วยกัน 4 ค่า ดังนี้        1. Table name : ชื่อตารางหลักที่เลือก        2. Module name : ชื่อ Module ที่กำหนด        3. Controller name : ชื่อ Controller ที่กำหนด        4. Model name : ชื่อ Model ที่...

PHP CI MANIA : ตอนที่ 17 การกำหนดให้คำนวณราคารวมแบบอัตโนมัติ เมื่อเปลี่ยนรายการวัตถุดิบใหม่ (On Change)

จากที่ได้กำหนด Action หลังจากกรอกจำนวนลงใน INPUT ให้คำนวณราคารวมในตอนที่แล้ว ( PHP CI MANIA : ตอนที่ 16 วิธีสร้างเว็บเพจที่มีแบบฟอร์มคำนวณผลรวมอัตโนมัติ เมื่อป้อนข้อมูลในช่อง INPUT ) เรายังสามารถกำหนด Action ให้กับ Dropdown ที่ JOIN ตารางวัตถุดิบให้คำนวณราคารวมทุกครั้งเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงได้อีกด้วย 1. ในแท็ป " ตั้งค่า " เลื่อนไปส่วนที่ 5 ด้านล่างสุด " ข้อมูลตารางรายการ ( Detail ) " และกำหนดการ JOIN ตารางวัตถุดิบที่ไอคอนด้านซ้าย 2. จะมีการกำหนดค่าเพิ่มเติมในขั้นตอนที่ 2.4 และ 2.5 สำหรับขั้นตอนที่ 2.1 - 2.3 คือการตั้งค่าการ JOIN ตามปกติ ( อ่านได้จากคู่มือการใช้งาน ตอนที่ 8 )        2.1 เลือกตารางวัตถุดิบ  (ตารางที่ต้องการ JOIN)        2.2 เลือกฟิลด์อ้างอิง (Primary key ของตารางที่ JOIN)        2.3 เลือกฟิลด์ที่ใช้แสดงเป็นป้ายกำกับใน Dropdown list ที่สร้างขึ้นมา        2.4 ตั้งค่าเพิ่มเติม เพื่อดึง ราคา มาเก็บไว้ในแอตทริบิวต์ของ option ที่เลือก เพื่อใช...

PHP CI MANIA : ตอนที่ 16 วิธีสร้างเว็บเพจที่มีแบบฟอร์มคำนวณผลรวมอัตโนมัติ เมื่อป้อนข้อมูลในช่อง INPUT

การคำนวณผลรวม เมื่อเปลี่ยนแปลงตัวเลขใน Textbox หากเขียนโค้ดเองก็เพียงไม่กี่บรรทัด แต่ถ้าหากใช้ PHP CI MANIA เราสามารถเพิ่มการตั้งค่าได้ดังนี้ 1. ในแท็ป " ตั้งค่า " เลื่อนไปส่วนที่ 5 ด้านล่างสุด " ข้อมูลตารางรายการ ( Detail ) " 2. เพิ่ม INPUT สำหรับแสดงราคารวม โดยคลิกที่ปุ่มสีเขียว ในตัวอย่างนี้จะสร้างไว้ต่อจาก ฟิลด์ ราคา  โดยกำหนดค่าในช่องคอลัมน์ Name เป็น total_price=>ราคารวม สังเกตุว่าจะมี => คั่นกลาง        ด้านซ้าย total_price ใช้เป็นไอดีอ้างอิงเพื่อนำราคารวมไปแสดงผล        ด้านขวา ราคารวม ใช้เป็นป้ายชื่อหน้าช่องแสดงผลรวม 3. กำหนด Action ให้กับฟิลด์ที่เมื่อเปลี่ยนค่าแล้วจะให้คำนวณผลรวมอัตโนมัติ ในที่นี้คือ ฟิลด์จำนวน 4. กำหนดค่าต่างๆให้กับ Action ของฟิลด์ที่เลือก     4.1  กำหนด Events จะเลือก onkeyup เพื่อจับเหตุการณ์เมื่อพิมพ์ตัวเลขระบุจำนวนสั่งซื้อ ให้คำนวณค่าราคารวมทันที     4.2  INPUT 1  ให้ระบุฟิลด์ที่ใช้ในการคำนวณตัวที่ 1 ที่นี้คือ ฟิลด์จำ...

PHP CI MANIA : ตอนที่ 15 สร้างเว็บเพจ แบบกำหนดรายการที่แสดงในตารางเฉพาะ หน่วยงาน/ผู้ใช้งาน ที่เป็นเจ้าของ เท่านั้น

นอกจากการกำหนดสิทธิ์ระดับหน้าเว็บในตอนที่แล้ว ( PHP CI MANIA : ตอนที่ 14 วิธีสร้างเว็บเพจ Login Form และการตรวจสอบ แผนกที่สังกัด ของผู้ใช้งาน ) เรายังสามารถกำหนดให้ลึกลงไปแบบเฉพาะเจาะจง ให้แสดงเฉพาะรายการที่ตนเองเป็นเจ้าของผู้บันทึกรายการเท่านั้นได้อีกด้วย เช่นหน้าเว็บเพจที่เราสร้างไว้ในตอนก่อนหน้านั้น ถ้าเราไม่กำหนด "WHERE USER SESSION" ก็จะเห็นว่าในตารางรายการนั้น แสดงทุกรายการ ทั้งของ USER 01 และ USER Demo รวมกัน ทั้งที่การ Login เข้ามานั้นเป็นไอดีของ User1 ซึ่งที่จริงแล้วจะต้องแสดงเฉพาะของ User1 เท่านั้น 1. เริ่มจากหน้าตั้งค่า คลิกเลือก " Login Require "  2. จากนั้นเลื่อนไปในส่วนที่ 4 "กำหนดการค้นหา / ประเภทช่องป้อนข้อมูล ตาราง tb_product_order_master ( Master )"  ที่คอลัมน์ " WHERE User Session " กำหนดไปที่ฟิลด์ที่เป็นรหัสอ้างอิงผู้ใช้งาน ในที่นี้คือ order_user_id ให้ระบุตัวเลือกเป็น " SESSION ไอดี ผู้ใช้งาน " (ซึ่งถ้าต้องการให้เห็นในระดับแผนก ก็สามารถอ้างอิงฟิลด์ที่เก็บรหัสแผนก และเลือก SESSION เป็น แผนกที่สังกัด) ...

ค้นหาในเว็บไซต์

เนื้อเพลงที่ได้รับความนิยม ในรอบสัปดาห์

ค้นหาบล็อกนี้